เรื่องต้องรู้! “หนังสือสัญญาเงินกู้” ที่เจ้าหนี้ต้องทำ และลูกหนี้ต้องรู้ด้วย 2023/2566
หนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน ที่หลายคนรู้จักนั้นก็คือ หลักฐานสัญญากู้ยืมเงินระหว่างผู้กู้และผู้ให้กู้ หรือที่เรียกว่าเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้นั้นเอง ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นสัญญากู้ยืมเงิน เพราะฉะนั้นจะต้องเป็นกาสรทำข้อตกลงของทั้งสองฝ่ายให้เป็นไปตามหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินนั้นเอง ซึ่งหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินก็จะต้องมีรูปแบบลักษณะที่เป็นไปตามกฎหมายใหม่ 2023/2566 ซึ่งเจ้าหนี้และลูกหนี้ก็ต้องรู้จักหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินตามกฎหมายใหม่ เพื่อที่จะสามารถเอาผิดหรือป้องกันหากมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาเงินกู้ ก็สามารถเอาผิดได้ตามกฎหมายใหม่ หรือตามข้อตกลงในหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินนั้นเอง
ภายในหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินที่ได้จัดทำขึ้นควรจะต้องมีกำหนดระยะเวลา เช่น กำหนดชำระตามหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน คือ อีก 1 ปีข้างหน้า แต่ยังไม่ถึงกำหนดชำระตามหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน เจ้าหนี้หรือผู้กู้ไม่ได้มีสิทธิเรียกชำระก่อนได้ ยกเว้นกรณีที่ลูกหนี้หรือผู้กู้ถึงแก่ความตายก่อนกำหนดชำระ ผู้ให้กู้หรือเจ้าหนี้สามารถถือหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินฟ้องทายาทของผู้กู้หรือลูกหนี้ได้ตามกฎหมาย โดยกำหนดระยะเวลาการฟ้องทายาทผู้กู้สัญญาเงินกู้ได้ภายใน 1 ปีนับจากวันที่รู้ถึงความตายของลูกหนี้หรือผู้กู้นั้นเอง และต้องมีหลักฐานหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินประกอบ ตามกฎหมายมาตรา 1754
อนึ่ง หนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินที่ไม่ได้ระบุกำหนดระยะเวลาการชำระในสัญญาเงินกู้ ผู้ให้กู้หรือเจ้าหนี้จะสามารถเรียกให้ลูกหนี้หรือผู้กู้ตามสัญญาเงินกู้ชำระเงินได้ในทันที ตามกฎหมายมาตรา 203
นอกจากนี้ภายในเอกสารหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินต้องระบุเงินต้น อัตราดอกเบี้ย วันที่ทำหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน วันที่นัดชำระหรือระยะเวลาการชำระที่กู้ยืมให้ชัดเจน รวมทั้งต้องมีพยานในหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน และลายมือชื่อเท่านั้นจึงเป็นอันเสร็จสมบูรณ์การทำหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงิน
รูปแบบหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินประกอบไปด้วย ส่วนนำ ส่วนเนื้อหา และส่วนลงท้าย
อัตราดอกเบี้ยในหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินต้องเป็นไปตามกฎหมายใหม่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 ซึ่งเจ้าหนี้สามารถเรียกดอกเบี้ยในสัญญาเงินกู้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี คิดเป็นร้อยละ 1.25 ต่อเดือน หากเกินกว่ากฎหมายกำหนดหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินก็จะถือเป็นโมฆะสำหรับดอกเบี้ย แต่เงินต้นในหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินจะต้องชำระคืนให้หมดตามเดิม
ทั้งนี้ไม่ว่ารูปแบบหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินจะเขียนไว้ว่าอย่างไร หากผิดกฎหมาย ไม่เป็นตามกฎหมายใหม่ ก็สามารถเอาผิดตามหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินหากมีการเซ็นสัญญายินยิมแล้ว เพราะฉะนั้นหลักการที่สำคัญที่สุดในการทำหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินของทั้งสองฝ่าย จะต้องทำการอ่านเงื่อนไขข้อตกลงให้ดี และเก็บหลักฐานหนังสือสัญญาเงินกู้หรือ สัญญากู้ยืมเงินให้ดีเช่นกัน